การจัดทำข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์สาธารณสุข กทม.

         

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 


1 ข้อมูลและโปรแกรมที่ใช้ในการดำเนินการ

               1.1 ข้อมูลเชิงทิศทาง (Vector)  สามารถแจกแจงได้ตามตารางดังนี้

ตารางที่ 1  ข้อมูลเชิงทิศทาง (Vector) ที่ใช้ในการดำเนินการ 

อันดับ

ชื่อ shapefile

ชนิดของข้อมูล

คำอธิบาย

แหล่งข้อมูล

1

Bma_hos

Point

ที่ตั้งร.พ.กทม.

Gisdata2550

2

Gov_hos

Point

ที่ตั้งร.พ.รัฐบาล

Gisdata2550

3

Priv_hos

Point

ที่ตั้งร.พ.เอกชน

Gisdata2550

4

Health_cen

Point

ที่ตั้งศูนย์บริการสาธารณสุข

Gisdata2550

5

B_health

Point

ที่ตั้งศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา

Gisdata2550

6

Mhc

Point

ที่ตั้งศูนย์สุขภาพชุมชน

Gisdata2550

7

Drug_clinic

Point

ที่ตั้งคลีนิกยาเสพติด

Gisdata2550

8

Health_area

Polygon

พื้นที่บริการสาธารณสุข

Gisdata2550

9

Road_centerline

Line

ถนน

Base20000

10

Express_way

Line

ทางด่วน

Base20000

11

Chaopraya

polygon

แม่น้ำเจ้าพระยา

Base20000

12

Distric

polygon

เขต

Base20000

 

              1.2 ข้อมูลอรรถาธิบาย  เป็นข้อมูลที่ได้จากฐานข้อมูลที่ฝ่ายข้อมูลและแผนงานได้จัดทำขึ้นและเป็นข้อมูลที่ได้จากการค้นคว้าด้วยตัวเอง สามารถแจกแจงได้ตามตารางดังนี้

ตารางที่ 2  ข้อมูลอรรถาธิบาย (Attribute) ที่ใช้ในการดำเนินการ 

อันดับ

ชื่อ file

คำอธิบาย

แหล่งข้อมูล

1

Hos_bma

ข้อมูลทั่วไปของร.พ.กทม.

สำนักการแพทย์

2

Health_bma

ข้อมูลทั่วไปของศูนย์บริการสาธารณสุข

สำนักอนามัย

3

Cos_in_dep

จำนวนผู้ป่วยในจำแนกตามแผนก

สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล

4

Cos_out_dep

จำนวนผู้ป่วยนอกจำแนกตามแผนก

สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล

5

Employ_46

จำนวนบุคลากรจำแนกตามสายอาชีพ

สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล

6

Distric_cos

จำนวนผู้ป่วยจำแนกตามเขต

สำนักอนามัย

 

 

 

 

 

 

               1.3 โปรแกรม 

                        1)โปรแกรมสารสนเทศภูมิศาสตร์  : Autodesk MapGuide Author

 ,Arcview 3.2a

                        2)โปรแกรมให้บริการสารสนเทศภูมิศาสตร์ผ่านเครือข่าย  : Autodesk MapGuide Server Admin

                        3)โปรแกรมปรับแต่งสัญลักษณ์   :  Symbol Manager

                        4)โปรแกรมระบบบัญชี  :  Microsoft Excel

                        5)โปรแกรมระบบฐานข้อมูล  :  Microsoft Access

                        6)โปรแกรมเขียนเว็บเพ็จ  :  Microsoft FrontPage

                        7)โปรแกรมตกแต่งรูปภาพ  :  Adobe Photoshop

……………………………………………………………………………………………………………….

 

 

2 กรอบแนวทางในการดำเนินการ

          ในการดำเนินการนี้จะต้องผ่านกระบวนการตามขั้นตอนต่อไปนี้

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 


 

 

 

 

 

 

 

 

ภาพประกอบ 1  กรอบแนวทางในการดำเนินการ

 

…………………………………………………………………………………………………………………………..

 

 

3 การเก็บรวบรวมข้อมูล Attribute และจัดการฐานข้อมูล

             เนื่องจากฐานข้อมูลด้านสาธารณสุขที่ได้จากฝ่ายข้อมูลและแผนงานไม่เพียงพอต่อการนำเสนอ จำเป็นต้องค้นคว้าหาข้อมูลด้วยตัวเองจากหนังสือสถิติและอินเตอร์เน็ต ดังนั้นจึงต้องใช้เครื่องมือและโปรแกรมต่างๆเพื่อจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบและสามารถนำไปใช้งานได้สะดวก  สำหรับโปรแกรมที่ต้องใช้ได้แก่ MS Excel  และ MS Access

                 ข้อมูลที่ได้จากการจัดการฐานข้อมูลด้วย MS Access มีดังนี้

ตารางที่  3  ข้อมูลที่ได้จากการจัดการฐานข้อมูลด้วย MS Access

ชื่อคอลัมน์

ประเภทข้อมูล

คำอธิบาย

Table : Hos_bma  :  ข้อมูลทั่วไปของร.พ.กทม.

Hos_id

N

รหัสโรงพยาบาล

Name

T

ชื่อโรงพยาบาล

nick_name

T

ชื่อโรงพยาบาลอย่างย่อ

Add

T

ที่อยู่

Bed

N

จำนวนเตียง

Out_cos

N

จำนวนผู้ป่วยนอก

In_cos

N

จำนวนผู้ป่วยใน

Tot_cos

N

จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด

Table : Health_bma : ข้อมูลทั่วไปของศูนย์บริการสาธารณสุข

Health_id

N

รหัสศูนย์บริการสาธารณสุข

Name

T

ชื่อศูนย์บริการสาธารณสุข

Add

T

ที่อยู่

Time_sick

N

จำนวนครั้งที่ใช้บริการ

New_cos

N

จำนวนผู้ใช้บริการรายใหม่

Old_cos

N

จำนวนผู้ใช้บริการรายเก่า

Table : Cos_in_dep : จำนวนผู้ป่วยใน จำแนกตามแผนก

Hos_id

N

รหัสโรงพยาบาล

Name

T

ชื่อโรงพยาบาล

Ther_dep

N

อายุรกรรม

Acc_dep

N

อุบัติเหตุและนิติเวชวิทยา

Birth_dep

N

สูติ นรีเวชกรรม

Infant_dep

N

กุมารเวชกรรม

ชื่อคอลัมน์

ประเภทข้อมูล

คำอธิบาย

Surg_dep

N

ศัลยกรรม

Improve_dep

N

เวชกรรมฟื้นฟู

Optic_dep

N

จักษุวิทยา

Auric_dep

N

โสต นาสิก ลาริงซ์วิทยา

Ray_dep

N

รังสีวิทยา

Tot_cos

N

รวม

Table : Cos_out_dep : จำนวนผู้ป่วยนอก จำแนกตามแผนก

Hos_id

N

รหัสโรงพยาบาล

Name

T

ชื่อโรงพยาบาล

อายุรกรรม

N

-

อุบัติเหตุและนิติเวชวิทยา

N

-

สูติ นรีเวชกรรม

N

-

กุมารเวชกรรม

N

-

ศัลยกรรม

N

-

ศัลยกรรมกระดูก

N

-

ทันตกรรม

N

-

เวชกรรมฟื้นฟู

N

-

จักษุวิทยา

N

-

อนามัยชุมชน

N

-

โสต นาสิก ลาริงซ์วิทยา

N

-

เวชศาสตร์ครอบครัว

N

-

วิสัญญี

N

-

รังสีวิทยา

N

-

คลีนิกนอกเวลา

N

-

ประกันสังคม

N

-

จิตเวช

N

-

ผู้ป่วยทั่วไป

N

-

ห้องไตเทียม

N

-

ผู้ป่วยนอก

N

-

 

 

 

ชื่อคอลัมน์

ประเภทข้อมูล

คำอธิบาย

ตรวจสุขภาพแรงงาน

N

-

ตรวจสุขภาพข้าราชการ

N

-

รวม

N

-

Table : Employ46 : จำนวนบุคลากรตามสายอาชีพ

Hos_id

N

รหัสโรงพยาบาล

Hos_name

T

ชื่อโรงพยาบาล

แพทย์

N

-

ชื่อคอลัมน์

ประเภทข้อมูล

คำอธิบาย

พยาบาลวิชาชีพ

N

-

เจ้าหน้าที่พยาบาล

N

-

นักวิทยาศาสตร์การแพทย์

N

-

นักเทคนิคการแพทย์

N

-

พยาบาลเทคนิค

N

-

จพงวิทยาศาสตร์การแพทย์

N

-

เภสัชกร

N

-

ผู้ช่วยทันตแพทย์

N

-

เจ้าพนักงานเภสัช

N

-

ทันตแพทย์

N

-

เจ้าหน้าที่รังสีการแพทย์

N

-

นักกายภาพบำบัด

N

-

นักสังคมสงเคราะห์

N

-

นักรังสีการแพทย์

N

-

ผู้ช่วยเภสัชกร

N

-

นักโภชนาการ

N

-

เจ้าหน้าที่วิทยาศาสตร์

N

-

เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสุขภาพ

N

-

เจ้าหน้าที่ควบคุมโรค

N

-

นักจิตวิทยา

N

-

นักวิชาการส่งเสริมสุขภาพ

N

-

Table : Distric_cos : จำนวนผู้ป่วยจำแนกตามเขต

DCode

N

-

DName

T

-

Cos_47

N

-

ผู้ป่วยไข้เลือดออก

N

-

           ที่มา : สำนักอนามัย

                                              สำนักการแพทย์

                                                                                  สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล

 

...............................................................................................................................................

 

4 การนำเข้าข้อมูลVector และการเชื่อมกับข้อมูลAttribute

            ข้อมูล Vector ที่ใช้ในการนำเสนอนั้น เป็นข้อมูลที่ได้จัดทำเสร็จไว้แล้วโดยฝ่ายข้อมูลและแผนงานโดยจัดเก็บในรูปแบบ Shape file ซึ่งสามารถนำข้อมูลเหล่านั้นมาจัดกระทำเพิ่มเติมได้โดยผ่านระบบเครือข่ายภายในองค์กร ใช้โปรแกรม Arcview เป็นเครื่องมือ เนื่องจากสามารถปรับแต่งข้อมูล Vector ได้ง่าย

            ข้อมูล Vector ที่ได้จำแนกตามการใช้งานได้ดังนี้

                1)ข้อมูล Vector ที่ตั้งศูนย์บริการสาธารณสุข เป็นข้อมูลประเภท Point ทั้งหมด ใช้ในการอ้างอิงพิกัดของศูนย์บริการสาธารณสุข  เพื่อการค้นหาสถานที่และระบุตำแหน่ง

                2)ข้อมูล Vector ข้อมูลเชิงสัมพันธ์กับที่ตั้งศูนย์บริการสาธารณสุข ได้แก่ ข้อมูลที่อ้างอิงที่ตั้งศูนย์บริการสาธารณสุขโดยอ้างอิงกับลักษณะทางกายภาพต่างๆ เช่น ถนน แม่น้ำ เขตการปกครอง สถานที่สำคัญต่างๆ เป็นต้น ซึ่งเป็นข้อมูลประกอบที่ใช้ในการค้นหาสถานที่

                3)ข้อมูล Vector ที่ใช้แสดงสถิติเชิงพื้นที่ ได้แก่ เขตการปกครอง พื้นที่บริการสาธารณสุข

            ข้อมูล Vector ทั้ง 3 ประเภท เมื่อนำมาวิเคราะห์ประกอบกับข้อมูล Attribute ที่ได้จัดเป็นหมวดหมู่ไว้แล้วร่วมกับข้อมูล Attribute จะสามารถออกแบบหมวดหมู่การนำเสนอแผนที่ด้วยโปรแกรม Autodesk MapGuide ได้ดังนี้

            · ที่ตั้งสถานพยาบาล

-          ที่ตั้งโรงพยาบาลในเขตกรุงเทพฯ

-          ที่ตั้งโรงพยาบาลเอกชน

-          ที่ตั้งโรงพยาบาลของรัฐ

-          ที่ตั้งโรงพยาบาลในสังกัด กทม.

-          ที่ตั้งศูนย์บริการสาธารณสุข

-          ที่ตั้งศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา

-          คลีนิกยาเสพติด

-          ศูนย์สุขภาพชุมชน

-          ทางด่วน

-          ถนนสายหลัก

-          ถนนสายรอง

-          แม่น้ำเจ้าพระยา

-          เขต

            · ข้อมูลเกี่ยวกับโรงพยาบาลในสังกัด กทม.

-          จำนวนแพทย์

-          จำนวนเตียง

-          จำนวนผู้ป่วยใน

-          จำนวนผู้ป่วยนอก

-          จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด

-          จำนวนผู้ใช้บริการหน่วยแพทย์เคลื่อนที่

-          ค่าใช้จ่ายโครงการ 30 บาท (ผู้ป่วยนอก)

-          ค่าใช้จ่ายโครงการ 30 บาท (ผู้ป่วยใน)

-          ที่อยู่ของโรงพยาบาล

            · ข้อมูลเกี่ยวกับศูนย์บริการสาธารณสุข

-          ที่ตั้งศูนย์บริการสาธารณสุข

-          พื้นที่บริการศูนย์บริการสาธารณสุข

            · สถิติทั่วไปเกี่ยวกับสาธารณสุข

-          จำนวนผู้มาใช้บริการศูนย์บริการสาธารณสุข

-          จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกปี 2548

-          จำนวนประชากรปี 2549

 

 

 

...............................................................................................................................................

 

 

5 การนำเสนอข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต

            การนำเสนอข้อมูลผ่านอินเตอร์เน็ตจำเป็นต้องใช้ความรู้ทั้งศาสตร์และศิลป์  คือ การใช้เครื่องมือ โปรแกรม ภาษาคอมพิวเตอร์ และการใช้ศิลปะในการจัดหน้าเว็บเพ็จให้สวยงาม ซึ่งการนำเสนอข้อมูลผ่านเว็บเพ็จจะเป็นสื่อกลางในการเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้ 

5.1 การจัดเตรียมข้อมูล

 คือการเก็บรวบรวมข้อมูลที่จะนำเสนอทั้งหมดแล้วจัดเป็นหมวดหมู่  ในโครงการนี้สามารถจัดหมวดหมู่การนำเสนอดังนี้

1) เว็บเพ็จที่นำเสนอด้วยแผนที่ ได้แก่ ข้อมูลแผนที่ที่ได้จากการจัดกระทำด้วยโปรแกรม Autodesk MapGuide Author ซึ่งสามารถแสดงผลในหน้าเว็บเพ็จได้ทันที

      - แผนที่ที่ตั้งสถานพยาบาลในเขตกรุงเทพมหานคร

      - แผนที่แสดงข้อมูลโรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร

      - แผนที่แสดงข้อมูลศูนย์บริการสาธารณสุข

      - แผนที่แสดงสถิติเชิงพื้นที่

2) เว็บเพ็จที่มีการเชื่อมต่อกับฐานข้อมูล ได้แก่ เว็บเพ็จที่มีการรับค่าจากการกระทำของผู้ใช้และมีการแสดงผลด้วยการดึงข้อมูลจากฐานข้อมูลที่ได้จัดกระทำด้วย Access และมีความซับซ้อนในการเขียนคำสั่งภาษาคอมพิวเตอร์

      - จำนวนบุคลากรจำแนกตามสายอาชีพ โรงพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร

      - จำนวนผู้ป่วยในจำแนกตามแผนก โรงพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร

      - จำนวนผู้ป่วยนอกจำแนกตามแผนก โรงพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร

      - สายรถเมล์ที่ผ่าน โรงพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร

3) เว็บเพ็จที่นำเสนอด้วยรูปภาพและอักษร ได้แก่ เว็บเพ็จทั่วไป ส่วนใหญ่เป็นลิงค์และภาพประกอบ

      - เว็บเพ็จหน้าแรก (Homepage)

      - ข่าวสาธารณสุข

 

5.2 การออกแบบและเขียนเว็บเพ็จด้วยภาษา HTML มีขั้นตอนดังนี้

1) ออกแบบหน้าเว็บเพ็จโดยใช้โปรแกรม MS FrontPage เป็นเครื่องมือในการช่วยออกแบบหน้าเพ็จ เช่น การจัดตาราง  การเชื่อมโยงหน้าเว็บเพ็จ และใช้โปรแกรม Photoshop เป็นเครื่องมือในการตกแต่งภาพ

2) เขียนคำสั่งคอมพิวเตอร์เพื่อเชื่อมโยงการนำเสนอด้วยแผนที่และนำเสนอจากฐานข้อมูล ภาษาที่ใช้ได้แก่ HTML ASP JavaScript

3) ทดสอบการใช้งานโดยใช้โปรแกรม Internet Explorer โดยตรวจสอบลิงค์ต่างๆ  การแสดงผลของแผนที่ การแสดงข้อมูลจากฐานข้อมูล เป็นต้น

4) Upload แฟ้มข้อมูลที่เกี่ยวข้องไปยังเครื่อง Server เพื่อเผยแพร่ข้อมูลผ่านทาง http://www.bangkokgis.com/

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 


 

Text Box: นำเสนอผ่าน www.bankokgis.com

           

 

 

 

ภาพประกอบ 2  กระบวนการนำเสนอข้อมูลและแผนที่

 

 

ภาพแสดงหัวเรื่อง

 

+ ข้อมูลเกี่ยวกับโรงพยาบาล

-บุคลากร

-ผู้ป่วยใน         เชื่อมต่อ database

-ผู้ป่วยนอก

+ ข่าวสาธารณสุข

-หัวข้อข่าว -->เนื้อหาข่าว

 

+ การเดินทาง

-สายรถเมล์ -->เชื่อมต่อ database

ภาพประกอบหัวข้อ

ที่ตั้งสถานพยาบาล  ---> แผนที่

 

ภาพประกอบหัวข้อ

ข้อมูลโรงพยาบาลสังกัด กทม.  ---> แผนที่

 

ภาพประกอบหัวข้อ

 ข้อมูลศูนย์บริการสาธารณสุข ---> แผนที่

 

ภาพประกอบหัวข้อ

สถิติเชิงพื้นที่ ---> แผนที่

 

ลิงค์เว็บไซต์

หน่วยงานสาธารณสุข

ลิงค์เว็บไซต์

โรงพยาบาลสังกัด กทม.

 

ลิงค์เว็บไซต์

ด้านสุขภาพ

ภาพประกอบ 3  การจัดหน้า Homepage

 

 

ภาพแสดงหัวเรื่อง

 

 

 

 

แผนที่

 

 

 

แสดงข้อมูลต่างๆ

จากฐานข้อมูล

 

 

ภาพประกอบ 4  การจัดหน้า Webpage ที่มีการเชื่อมกับฐานข้อมูล

 

ภาพประกอบ 5  การใช้โปรแกรม PhotoShop ในการตัดต่อภาพประกอบ

 

ภาพประกอบ 6  การใช้คำสั่ง JavaScript ในการเชื่อมฐานข้อมูล

 

ภาพประกอบ 7 การใช้โปรแกรม FrontPage ในการออกแบบเว็บเพ็จ